สำหรับเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่อยู่หัว พระราชทานพระราชดำริให้ กรมชลประทาน
ศึกษาความเหมาะสมและผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนน้ำและปัญหาอุทกภัย
ทั้งในพื้นที่ลุ่มน้ำ เจ้าพระยาตอนล่าง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล เมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2532ก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 18 ส.ค. 2537 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่อยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัส พระราชทาน
แก่เจ้าหน้าที่กรมชลประทาน ขณะ เสด็จฯ ทอดพระเนตรหุ่นจำลองเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ในงานนิทรรศการเทค
โนอินโดไชน่าที่องค์การ สหประชาชาติว่า "72 ปี ยังเดินไหว จะไปเปิด เขื่อนป่าสัก" เขื่อนดิน แกนดินเหนียว
สันเขื่อนยาว 4,860 เมตร สูง 36.50 เมตร อยู่ไม่ไกลกรุงเทพฯเท่าไรราว 150 กม.เท่านั้น หากมีรถ
ไปเองขับไปตามถนนพหลโยธิน เมื่อไปถึง3 แยกพุแคเลี้ยวขวาเข้าไปในถนนสายสระบุรี-หล่มสัก ประมาณ
41 กม. มีป้ายบอกทางตลอด ต่อมาวันที่ 3 พ.ค. 2537 คณะรัฐมนตรีอนุมัติ ให้ดำเนินโครงการก่อสร้าง
เขื่อนขนาดใหญ่ ที่บ้านหนองบัว ต.หนองบัว อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี โครงการนี้ใช้เวลา ในการก่อสร้าง 5 ปี
ระหว่าง 2537-2542 โดยเริ่มลงมือ ก่อสร้างเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2537 ที่บริเวณหัวงาน ต.หนองบัว
ลักษณะเขื่อนเป็นเขื่อนดิน แกนดินเหนียว สันเขื่อนยาว 4,860 เมตร สูง 36.50 เมตร เก็บกักน้ำได้
สูงสุด 960 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่ระดับ 43 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ปานกลาง มีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
114,119 ไร่ ประมาณ 7,700 ครอบครัว ใช้งบประมาณในการก่อสร้าง 23,336 ล้านบาท โดย
เริ่มเก็บกักน้ำครั้งแรก เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2541 สมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จฯ ทรง เป็นประธานในพิธีเริ่มเก็บกักน้ำเขื่อนป่าสักพิพิทธภัณฑ์ลุ่มน้ำป่าสักนอกจากนี้ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ยังอยู่ใกล้ กรุงเทพฯ มีการคมนาคมสะดวกสบาย สามารถ เป็นแหล่งท่อง
เที่ยวทีสำคัญได้อีกแห่งหนึ่ง และ ที่น่าสนใจเป็นพิเศษ คือ การท่องเที่ยวทางรถไฟ เนื่องจากมีการก่อสร้าง
ทางรถไฟลอยฟ้า ซึ่งนับ เป็นทางรถไฟแห่งแรกในประเทศไทยที่ก่อสร้าง ผ่านตัวอ่างเก็บน้ำ รวมทั้งยังมี
พิพิธภัณฑ์ลุ่มน้ำ ป่าสักอีกด้วยท่อระบายน้ำ ทำหน้าที่เป็นท่อน้ำล้นเมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2542 พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว สมด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนารถ
เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเป็น
ประธานในพิธีเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่ อ.พัฒนา นิคม จ.ลพบุรี โดยมีสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์
วัดปากน้ำภาษีเจริญกรุงเทพฯ ประธานสงฆ์ถวายศิลมองจากสันเขื่อนทิศใต้ ไปยังทิศเหนือเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2541 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ
เขื่อนว่า "เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์" หมายถึง "เขื่อนแม่น้ำป่าสักที่เก็บกักน้ำได้อย่างมี ประสิทธิภาพ"
ซึ่งแม่น้ำป่าสักเป็นแม่น้ำสาขา สายหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มจากอำเภอ ด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหล
ผ่านจังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี มาบรรจบกับแม่น้าเจ้าพระยาที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นับเป็น
แม่น้ำสายสำคัญ ของภาคกลางตอนล่าง ประตูระบายน้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จ.ลพบุรี
ศึกษาความเหมาะสมและผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนน้ำและปัญหาอุทกภัย
ทั้งในพื้นที่ลุ่มน้ำ เจ้าพระยาตอนล่าง รวมทั้งกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล เมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2532ก่อนหน้านี้ เมื่อวันที่ 18 ส.ค. 2537 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่อยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัส พระราชทาน
แก่เจ้าหน้าที่กรมชลประทาน ขณะ เสด็จฯ ทอดพระเนตรหุ่นจำลองเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ในงานนิทรรศการเทค
โนอินโดไชน่าที่องค์การ สหประชาชาติว่า "72 ปี ยังเดินไหว จะไปเปิด เขื่อนป่าสัก" เขื่อนดิน แกนดินเหนียว
สันเขื่อนยาว 4,860 เมตร สูง 36.50 เมตร อยู่ไม่ไกลกรุงเทพฯเท่าไรราว 150 กม.เท่านั้น หากมีรถ
ไปเองขับไปตามถนนพหลโยธิน เมื่อไปถึง3 แยกพุแคเลี้ยวขวาเข้าไปในถนนสายสระบุรี-หล่มสัก ประมาณ
41 กม. มีป้ายบอกทางตลอด ต่อมาวันที่ 3 พ.ค. 2537 คณะรัฐมนตรีอนุมัติ ให้ดำเนินโครงการก่อสร้าง
เขื่อนขนาดใหญ่ ที่บ้านหนองบัว ต.หนองบัว อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี โครงการนี้ใช้เวลา ในการก่อสร้าง 5 ปี
ระหว่าง 2537-2542 โดยเริ่มลงมือ ก่อสร้างเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2537 ที่บริเวณหัวงาน ต.หนองบัว
ลักษณะเขื่อนเป็นเขื่อนดิน แกนดินเหนียว สันเขื่อนยาว 4,860 เมตร สูง 36.50 เมตร เก็บกักน้ำได้
สูงสุด 960 ล้านลูกบาศก์เมตร ที่ระดับ 43 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ปานกลาง มีพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
114,119 ไร่ ประมาณ 7,700 ครอบครัว ใช้งบประมาณในการก่อสร้าง 23,336 ล้านบาท โดย
เริ่มเก็บกักน้ำครั้งแรก เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 2541 สมเด็จพระเทพรัตน- ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จฯ ทรง เป็นประธานในพิธีเริ่มเก็บกักน้ำเขื่อนป่าสักพิพิทธภัณฑ์ลุ่มน้ำป่าสักนอกจากนี้ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ยังอยู่ใกล้ กรุงเทพฯ มีการคมนาคมสะดวกสบาย สามารถ เป็นแหล่งท่อง
เที่ยวทีสำคัญได้อีกแห่งหนึ่ง และ ที่น่าสนใจเป็นพิเศษ คือ การท่องเที่ยวทางรถไฟ เนื่องจากมีการก่อสร้าง
ทางรถไฟลอยฟ้า ซึ่งนับ เป็นทางรถไฟแห่งแรกในประเทศไทยที่ก่อสร้าง ผ่านตัวอ่างเก็บน้ำ รวมทั้งยังมี
พิพิธภัณฑ์ลุ่มน้ำ ป่าสักอีกด้วยท่อระบายน้ำ ทำหน้าที่เป็นท่อน้ำล้นเมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2542 พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว สมด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนารถ
เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเป็น
ประธานในพิธีเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่ อ.พัฒนา นิคม จ.ลพบุรี โดยมีสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์
วัดปากน้ำภาษีเจริญกรุงเทพฯ ประธานสงฆ์ถวายศิลมองจากสันเขื่อนทิศใต้ ไปยังทิศเหนือเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2541 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ
เขื่อนว่า "เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์" หมายถึง "เขื่อนแม่น้ำป่าสักที่เก็บกักน้ำได้อย่างมี ประสิทธิภาพ"
ซึ่งแม่น้ำป่าสักเป็นแม่น้ำสาขา สายหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มจากอำเภอ ด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหล
ผ่านจังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบุรี มาบรรจบกับแม่น้าเจ้าพระยาที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นับเป็น
แม่น้ำสายสำคัญ ของภาคกลางตอนล่าง ประตูระบายน้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จ.ลพบุรี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น